สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น    



ปรียา หวังสมนึก

ชื่อ-นามสกุล: ปรียา หวังสมนึก (Preeya Wangsomnuk)
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ห้องทำงาน: 3304
E-mail: prepua@kku.ac.th
Website:
การศึกษา: B.S. Agriculture, M.S. Biotechnology, Ph.D. (Plant Molecular Biology) Molecular Genetics Department

สาขาที่สนใจ: Plant Molecular Genetics and Biotechnology, Plant Development

วิชาที่สอน:
311 244 Elementary Genetics
311 308 Biodiversity and Conservation
311 408 Plant Biotechnology

งานวิจัยหรืองานที่สนใจ:
ปี 2547-48
งานวิจัย ข้าวหอมและข้าวหอมอินทรีย์ (ได้รับทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และ สกว)
งานวิจัย กระเจียวในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ในพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
งานวิจัยยีนที่เกี่ยวข้องกับสีดอกกล้วยไม้ดิน (สกว)
งานวิจัยการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลสำหรับคุณภาพและปริมาณแป้งของมันสำปะหลัง (ร่วมกับศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น) (สกว)
การวิเคราะห์พันธุกรรมการผลิตไซยาไนด์ในมันสำปะหลัง
การวิเคราะห์ inbreeding population ของมันสำปะหลังพันธุ์การค้าของไทยโดยใช้ไมโครแซทเทไลท์
การส่งถ่ายยีนสู่มันสำปะหลัง
งานวิจัยพันธุกรรมของเผือกในประเทศไทย (ร่วมกับศูนย์วิจัยพืชสวนพิจิตร)
ที่ปรึกษาหลักนักศึกษา ป.โท/รองโท/รองเอก (คปก) 7/6/1 คน
ที่ปรึกษาหลัก/รองสำหรับนักศึกษาทำวิจัยวิชา Research Project เป็นที่ปรึกษาหลัก 3 คน (ไดรับทุนจาก สกว)/ ที่ปรึกษารอง 2 คน
นักศึกษาฝึกงานภาคฤดูร้อน 2546(ปี 1 สควค) 7 คน

บทความและสิ่งตีพิมพ์:
1) Long, D., Martin, M., Swinburne, J., Puangsomlee, P. and Coupland, G. 1993. The maize transposable element system Ac/Ds as a mutagen in Arabidopsis: Identification of an albino mutation induced by Ds insertion. Proceedings of the National Academy of Sciences, USA 90: 10370-10374.

2) Coupland, G., Dash, S., Goodrich, J., Lee, K., Long, D., Martin, M., Puangsomlee, P., Puterill, J., Robson, F., Sundberg, E. and Wilson, K. 1993. Molecular and
genetic analysis of the control of flowering time in response to daylength in Arabidopsis thaliana. Flowering Newsletter November: 27-32.

3) Long, D, Wilson, K, Goodrich, J, Puangsomlee, P, Sundberg, E, Schaffer, R, and Coupland, G. 1994. The use of the maiz transposons Ac/Ds for transposon tagging in Arabidopsis. E.C. Bridge and Biotech Arabidopsis projects. Queens’ College, Cambridge.

4) Long, D., Goodrich J., Wilson K., Sundberg, E., Martin, M., Puangsomlee, P. and
Coupland G. 1997. Ds elements on all five Arabidopsis chromosome and assessment of their utility for transposon tagging. The Plant Journal 11: 145-148.

5) Goodrich, J*., Puangsomlee, P*., Martin, M., Long, D., Meyerowitz, E. and Coupland, G. 1997. A Polycomb-group gene regulates homeotic gene expression in Arabidopsis. Nature 386: 44-51.
*These authors contributed equally to this work.

6) Puangsomlee, P. 1997. Characterisation, cloning and expression studies of CURLY LEAF, a gene involved in leaf and flower development of Arabidopsis thaliana. PhD. Thesis. Cambridge Laboratory, The John Innes Centre, The university of East Anglia.

7) Fray, M.J., Puangsomlee, P., Goodrich, J., Coupland, G., Evans, E.J., Arthur, A.E. and Lydiate, D.J. 1997. The genetics of stamenoid petal production in oilseed rape (Brassica napus) an equivatlent variation in Arabidopsis thaliana. Theoretical and Applied Genetics. 94:731-736.

8) Puangsomlee, P, Wingender, E and Kel, A. 1998. Taxonomic database. Project report in bioinformatics for the 12th course - Introduction to industrial biotechnology at the Gesellschaft fur Biotechnologische Forshung mbH, Braunschweig, Germany. 16 pages.

9) Puangsomlee, P and Christian Puff. 2001. Chromosome numbers of Rubiaceae in Thailand. Nordic Journal of Botany. 21 (2): 165-175.

10) Wangsomnuk, P.P., Takushi, S. and T. Murata. 2003. Suspension culture, protoplast isolation and protoplast culture of some plant species. Thai Agricultural Science Journal. 34: 1-3 (Suppl.) 350-353.

11) Wangsomnuk, P.P. 2003. Identification and characterization od OsRing Finger Proteins from rice. Proceedings of Rice Biotechnology. BioThailand. Pattaya. Thailand. p217.

12) Wangsomnuk, P.P., Wangsomnuk, P. and Maza, B. 2003. Biodiversity and Molecular aspect of Curcuma species from the north-east of Thailand. Proceedings of the 3rd Symposium on the Family Zingiberaceae. 109-119.

13) Wangsomnuk, P.P., Wangsomnuk, P. and Maza, B. 2003. In vitro conservation of Curcuma species and the assessment of genetic stability of micropropagated plants using Random amplified polymorphic DNA markers. Proceedings of the 3rd Symposium on the Family Zingiberaceae. 120-129.

14) Promviyo, A., Pongdontri, P. and Wangsomnuk, P. 2007. Comparison of KDML105 rice seed proteins from conventional and organic rice farms. Proceedings of the 2nd International rice for the future. 117-121.

15) Trongpanich, Phimwapi, S., Niamsanit, S. Wangsomnuk, P.P., Boonmee, M. and Siri, Sineenart. 2007. Isolation and characterization of bacteria capable of producing pyridoxine (PM) and pyridoxine 5’-phosphate (PMP), vitamin B6 compounds. J. Gen. Appl. Microbiol. 53: 295-299.

16) Kitijuntaropas, Y. and Wansomnuk,P. P. 2007. Genetic Diversity of Thirteen Cultivars of Para Rubber Tree (Hevea brasiliensis Muell. Arg.) in Thailand. Agricultural Sci. J. 38(6) (Suppl.): 19-24.

17) Phonkot,, N., Wangsomnuk, P. and Aromdee, C. 2008. Antioxidant activity and DNA fingerprint of four varieties of lotus stamens (Nelumbo nucifera Gaertn.). Songklanakarin J. Sci. Technol. 30(1): 55-58.

18) Wangsomnuk, P.P, Rittitum, W. and Wangsomnuk, P. 2008. Genetic basis of rubber (Hevea brasiliensis Muell. Arg.) from the farmer’s field in Sakhon Nakhon province. 2008. Agricultural Sci. J. 39(3) (Suppl) :94-97.

19) Pichedsak Srivong, Preeya Wangsomnuk, Paweena Pongdontri 2008. Characterization of a fragrant gene and enzymatic activity of Betaine Aldehyde Dehydrogenase in aromatic and nonaromatic Thai rice cultivars. Science KKU. 36 (4): 290-301.

20) Siwaporn Homhuan, Boonyuen Kijwijan, Preeya Wangsomnuk, Kitti Bodhipadma, David W.M. Leung. 2008. Variation of plants derived from indirect somatic embryogenesis in cotyledon explants of papaya. Science Asia . 34(4): 347-352.

21) W. Lontom, M. Kosittrakun, P. Weerathaworn , P. Wangsomnuk and Y.J. Zhu. 2009. Impact of storage temperature and duration on sucrose catabolism in harvested sugarcane stalks. Sugar Tech (2009) 11(2): 146-153.

22) Lakkham, K., Wangsomnuk, P., Aromdee, C. 2009. Identification and quality of four varieties of adlay. Songklanakarin Journal of Science and Technology 31 (4): 425-431.

23) Preeya Puangsomlee Wangsomnuk, Kantiwa Saenprom, Suta Poosittisak, Paweena Pongdontri, Pichedsak Srivong, Pinich Wangsomnuk, Anan Polthanee, and Manit Kosittrakun. 2009. Cultivar and farming practice affect yield and quality of thai rice. Asian Journal of Food & Agro-Industry. 2 (Special Issue): S336-S342.

24) Chitchanok Anutrakunchai Suwanna Niamsanit Preeya P. Wangsomnuk and Yanee Trongpanich. 2010. Isolation and characterization of vitamin B6-producing thermophilic bacterium, Geobacillus sp. H6a. J. Gen. App. Microbiol. 56: 273-279.

25) Nithida Phonkot; Preeya Puangsomlee Wangsomnuk; Chantana Aromdee. 2010. High-performance liquid chromatographic determination of beta-carotene content in four varieties of lotus stamens. Songklanakarin Journal of Science and Technology. 32(4):373-378.

26) Sudarat Khampa, Preeya Wangsomnuk and Pinich Wangsomnuk. 2010. Factors affecting seed germination of Grammatophylum speciosum cultured in vitro. AsPac J. Mol. Biol. Biotechnol. 18 (1): 193-197.

27) Raktin Uthai, Sudarat Khampa, Preeya P. Wangsomnuk, Pinich Wangsomnuk, and Sanun Jogloy. 2010. The molecular diversity of Helianthus tuberosus germplasm as assessed by HAT-RAPD and selected characterized DNA markers. AsPac J. Mol. Biol. Biotechnol. 18 (1): 99-101.

28) Chantana Aromdee, Senee Polrat, Preeya Wangsomnuk 2011.Constituents of the rhizome of Curcuma aeruginosa and its DNA fingerprint. Internationl Journal of Phytomedicine. 3 (2): 192-197.

29) Preeya P. Wangsomnuk, Sudarat Khampa, Sanun Jogloy, Aran Patanothai and Yong-Bi Fu. Assessing genetic structure and relatedness of Jerusalem artichoke (Helianthus tuberosus L.) germplasm with RAPD, ISSR and SRAP markers. 2011. American Journal of Plant Science. 2(6): 753-764.

30) P. P. Wangsomnuk, S. Khampa, P. Wangsomnuk, S. Jogloy, T. Mornkham, B. Ruttawat, A. Patanothai, Y.B. Fu. 2011. Genetic diversity of worldwide Jerusalem artichoke (Helianthus tuberosus) germplasm as revealed by RAPD markers. Genetics and Molecular Research. 10(4):4012-4025.

31) T. Mornkham, P. P. Wangsomnuk, P. Wangsomnuk, S. Jogloy, A. Pattanothai and Y. B. Fu. Comparison of five DNA extraction methods for molecular analysis of Jerusalem artichoke (Helianthus tuberosus). 2012. Genetics and Molecular Research. 11(1): 572-581.

32) Puttha R, Jogloy S, Wangsomnuk PP, Srijaranai S, Kesmala T and Patanothai A. 2012. Genotypic variability and genotype by environment interactions for inulin content of Jerusalem artichoke germplasm. Euphytica. 183 (1): 119-131.

33) Ratchanee Puttha, Sanun Jogloy, Bhalang Suriharn, Preeya Puangsomlee Wangsomnuk, Thawan Kesmala, Aran Patanothai. 2012. Variations in morphological and agronomic traits among Jerusalem artichoke (Helianthus tuberosus L.) accessions. Genet Resour Crop Evol.

34) Tanupat Mornkham, Preeya Puangsomlee Wangsomnuk, Yong-Bi Fu, Pinich Wangsomnuk, Sanun Jogloy and Aran Patanothai. 2013. Extractions of high quality RNA from seeds of Jerusalem Artichoke and other plant species with high levels of starch and lipid. Plants 2013, 2(2), 302-316; doi:10.3390/plants2020302

35) Preeya P. Wangsomnuk, Benjawan Ruttawat and Prapit Wongtiem. 2013. Identification of genetically distinct cassava clones from on-farm plantations to widen the Thai cassava breeding gene pool. American Journal of Plant Science. 4(8): 1574-1583.

36) Wangsomnuk, P. P., Rittithum, W., Ruttawat, B. and Wangsomnuk, P. 2014. Comparative analysis of DNA Extracted from Mature Leaves of Rubber Tree and Application for Seventeen Tropical Plant Species for PCR amplification. AAB Bioflux 6(1):45-56.

37) Preeya Puangsomlee Wangsomnuk, Benjawan Ruttawat, Wipavadee Rittithum, Pinich Wangsomnuk, Sanun Jogloy and Aran Patanothai. RNA extractions from difficult to prepare and high starch content seeds. The Sample Preparation of Plant, Animal and Soil textbook. Springer. inpress.

38) Fu, YB, Wangsomnuk PP, Ruttawat B (2014) Thai elite
cassava genetic diversity was fortuitously conserved
through farming with different sets of varieties. Conserv Genet. 15:1463-1478.

39) Preeya Puangsomlee Wangsomnuk, Sudarat Kampa and Sanun Jogloy. 2015. Exogenous supplementation of growth regulators and temperature improves germinatiom of dormant Jerusalem artichoke (Helianthus tuberosus L.) seeds under in vitro and in vivo conditions. Journal of Applied Biological Sciences. 9(2): 23-30.

40) T. Mornkham, P. P. Wangsomnuk1, X. Mo2, F.O. Francisco, L. Gao and H. Kurzweil. 2016. Development and characterization of novel EST-SSR markers and their application for genetic diversity analysis of Jerusalem artichoke (Helianthus tuberosusL.). Genet. Mol. Res. 15 (4): gmr15048857

41) A. Kentao. P.P. Wangsomnuk. P. Jearranaiprepame. 2018. Genetic variations and population structure in three populations of beardless barb, Cyclocheilichthys apogon (Valenciennes, 1842) inferred from mitochondrial cytochrome b sequences. Mitochondrial DNA Part A: DNA Mapping, Sequencing, and Analysis 29(1): 82-90. DOI: 10.1080/24701394.2016.1242581

42) Mo XC, Wangsomnuk PP*. 2021. A modified non-liquid nitrogen protocol for extraction of high-quality genomic DNA from the inner bark tissues of Dalbergia cochinchinensis (Fabaceae). Genetics and Molecular Research. 20(2): GMR18836. https://doi.org/10.4238/gmr18836.

43) ปรียา พวงสำลี หวังสมนึก*, จิรภัทร จันทะพงษ์ และ อำภาพร แสงขาว. 2563. ไพรเมอร์สำหรับวิเคราะห์พันธุกรรมของข่าโคมด้วยเครื่องหมาย SCOT. วารสาร สจล. ชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3(1): 30-37.

44) ปัณณพร เชื้อป้อง, ปรียา พวงสา ลี หวังสมนึก*, สุภัทร์อิศรางกูร ณ อยุธยา และพินิจ หวังสมนึก 2560. การวิเคราะห์จีโนไทป์ของกล้ายางพารา RRIM 600 จากเนอสเซอรีกล้ายาง ในจังหวัดขอนแก่นและหนองคาย โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษา ระดับชาติและนานาชาติ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. หน้า 435-444.

45) เสกสรร มะเดื่อ, ปรียา พวงสำลี หวังสมนึก*, พินิจ หวังสมนึก และบุญถม มาซา. (2559). ผลของน้ำตาลซูโครสและกรดอินโดล-3-บิวทีริกต่อการเจริญของแก่นตะวัน (Helianthus tuberosus L.) ในสภาพปลอดเชื้อ. ใน เอกสารการประชุมวิชาการพฤกษศาสตร์แห่ง ประเทศ ไทย ครั้งที่ 10. (หน้า 220 ? 229) อุบลราชธานี: ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.


46) Wangsomnuk PP, Khampa S, Jogloy S, et al. Assessment of genome and genetic diversity in (Helianthus tuberosus L.) with ISSR markers. Khon Kaen Agric J, 2006, 34(2):
124-38

47) ปรียา พวงสำลี หวังสมนึก สิริณี ยอดเมือง และวิชัย ณีรัตนพันธุ์. 2548. การวิเคราะห์พันธุกรรมสีดอกกล้วยไม้ดินโดยเทคนิคชีววิทยาระดับโมเลกุล. วารสารวิทยาศาสตร์การเกษตร 36 5-6: 127-130

48) ปรียา พวงสำลี หวังสมนึก สุดารัตน์ คำผา ชบา จำปาทอง และวิชัย ณีรัตนพันธุ์. 2548. การเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรของข้าวโพด (Zea mays) เขตกึ่งร้อน. วารสารวิทยาศาสตร์การเกษตร 36 5-6 : 958-961

49) ปรียา พวงสำลี หวังสมนึก นรินทร์ พูลเพิ่ม และกนกวรรณ สุขใจ. 2548. การแยกและการเพาะเลี้ยงโปรโตพลาสต์เผือกพันธุ์ THA147. วารสารวิทยาศาสตร์การเกษตร 36 5-6 : 923-926.

50) นิตยา ลุนมาตร ประสิทธ์ ใจศิล จิรวัฒน์ สนิทชน และ ปรียา พวงสำลี หวังสมนึก. 2551. การพัฒนาสายพันธุ์ข้าวฟ่างหวานสายพันธุ์อนุรักษ์ของสายพันธุ์เพศผู้เป็นหมัน. แก่นเกษตร 36 (ฉบับพิเศษ) : 19-25.

51) สุดารัตน์ คำผา ปรียา พวงสำลี หวังสมนึก สนั่น จอกลอย พินิจ หวังสมนึก และ อารันต์ พัฒโนทัย. 2551. ลักษณะสัณฐานและกายวิภาคของแก่นตะวัน (Helianthus tuberosus L.) ที่ปลูกในประเทศไทย. แก่นเกษตร 36 (ฉบับพิเศษ) : 205-212.

52) บุษบา ระวินู อำนวย คำตื้อ และปรียา พวงสำลี หวังสมนึก. 2551. ความหลากหลายทางพันธุกรรมของหม่อน (Morus spp.) จำแนกโดยใช้ AP-PCR markers. แก่นเกษตร 36 (ฉบับพิเศษ): 65-75.

53) ปรียา พวงสำลี หวังสมนึก วิชัย ณีรัตนพันธุ์ วราภรณ์ หล้าหาญ พินิจ หวังสมนึก อำนวยคำตื้อ และบุญถม มาซา. 2552. การใช้ลำดับนิวคลีโอไทด์ trnL-trnF และ 5S-rRNA ในการระบุพืชสมุนไพรบางชนิด. การสัมมนาวิชาการเกษตร ประจำปี 2552 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. หน้า 299-302.

54) ปรียา พวงสำลี หวังสมนึก อภิญญา พรมวิโย พินิจ หวังสมนึก สนั่น จอกลอย และอารันต์ พัฒโนทัย. 2552. การสกัดและการวิเคราะห์แบบแผนโปรตีนจากเมล็ดแก่นตะวัน (Helianthus tuberosus L.). การสัมมนาวิชาการเกษตร ประจำปี 2552 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. หน้า 295-298.

55) ปรียา พวงสำลี หวังสมนึก, กฤศญา สุวรรณจักร์, สุภาพร พิมพ์วาปี, พิศมัย คชโคตร แและ สุคนธ์ กลิ่นผกา. 2014. การวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในระดับภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา 2554 และ 2555.

อื่น ๆ:
รางวัลนักเรียนดีเด่นสาขาวิทยาศาสตร์การเกษตร มูลนิธิ ดร. แถบ นีรนิธิ 2527
นักเรียนทุนเครือบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ 2528-2530
นักเรียนทุน กพ (โท-เอก, 1992-1997)
Visiting graduate student at the Division of Biology, California Institute of Technology, CA, USA (Oct., 1995- March,1997)
Fellowhip from the German government, 1998.
Thai-Austrian research fellow at The Botanical Institute, University of Vienna, Austria 1999
Exchange Scientist : Kyushu Tokai University, Japan. 2000.
Post-doctoral Research Fellowship : The Matsumae International Foundation Fellowship, Japan Sep.,1999- Jan., 2000
Post-doctoral Research Fellowship (The King of Thailand Biomedical Fellowship): The Laboratory of Plant Molecular Biology, The Rockefeller University, NY, USA Oct.,2000-Sep., 2002

ผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีการศึกษา 2551
[คำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ 2473/2552]

ผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีการศึกษา 2552
[คำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ 2612/2553]

ผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีการศึกษา 2553
[คำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ 3446/2554]

ผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีการศึกษา 2554
[คำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ 3338/2555]

ผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีการศึกษา 2555 (IQA และ EdPEx)
[คำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ 3157/2556]


ผู้ตรวจประเมินตามตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปี 2554

ผู้ตรวจประเมินตามตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปี 2555

ผู้ตรวจประเมินตามตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปี 2556

ผู้ตรวจประเมินตามตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่วนราชการระดับจังหวัด

ผู้ตรวจประเมินรางวัลหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 2565

ผู้ตรวจประเมินรางวัลหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 2566

ผู้ตรวจประเมินรางวัลบริการภาครัฐของสำนักงาน ก.พ.ร. 2565

ผู้ตรวจประเมินรางวัลบริการภาครัฐของสำนักงาน ก.พ.ร. 2566

ผ่านการอบรมหลักสูตร 'คณาจารย์นิเทศสหกิจศึกษา" ระหว่างวันที่ 3 - 5 ตุลาคม 2556 สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และ เครือข่ายพัฒนาสหกิจศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

ผ่านการฝึกอบรม 'โครงการรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ประจำปี 2557' หลักสูตร TQA Criteria รุ่น 9 วันที่ 2-4 เมษายน 2557 จากสำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ

ผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายในระดับภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 26-30 พฤษภาคม 2557 (จำนวน 2 ภาควิชา)

ผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน (ตัวชี้วัด IQA) ระดับคณะ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กรกฎาคม 2557 (จำนวน 4 คณะ)

อบรมผู้ตรวจประเมินรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วันที่ 2 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมกัลปพฤกษ์ ตึกอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น




Invited reviewer in international journals:

Asian Journal of Agricultural Extension, Economics & Sociology
Annual Research & Review in Biology
International Journal of Plant & Soil Science
PLANT CELL BIOTECHNOLOGY AND MOLECULAR BIOLOGY
Journal of Forestry Research
British Journal of Applied Science & Technology
The International Journal of Agricultural Policy and Research (IJAPR)
American Journal of Experimental Agriculture

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2558 สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น